พัฒนาการวัฒนธรรมสุเมเรียน 2 ระยะ คือ
1.ระยะวัฒนธรรมอูเบด )Ubaid) ประมาณ 4250-3750 B.C. เป็นสมัยเริ่มอารยธรรมคนเมือง (Urban life)
2.ระยะวัฒนธรรมอูรุค )Uruk) ประมาณ 3750-3000 B.C.
ก. . การประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม หรืออักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียว
ส่วนใหญ่ใช้ของมีคนกรีดลงบนหิน แต่เนื่องจากหินหายากและไม่มีกระดาษพะไพรัสจึงต้องเขียนลงบนดินเหนียวแล้วนาไปผึ่งแดด หรือเผาไฟให้แห้งแข็ง เครื่องมือที่ใช้คือ ไม้ หรือกก หรือเหล็กแหลม กดเป็นรูปลิ่มอักษร จึงถูกเรียกชื่อว่า “คูนิฟอร์ม” หรือตัวอัหษรรูปลิ่ม
ข.การสร้างผลงานสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า “ซิกกูแรท” ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างลักษณะคล้ายพิรามิดสร้างบนฐานที่ยกระดับจากพื้นดินข้างบนทาเป็นวิหารเทพเจ้ามีบันไดทอดยอดขึ้นไป
ค. การก่อสร้างด้วยอิฐและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร
ชาวสุเมเรียนได้สร้างผลงานก่อสร้างอื่นๆและทาปฏิทินจันทรคติ กาหนดเดือนหนึ่งมี 366 ? วัน ปีหนึ่งมี 12 เดือน ปีของสุเมเรียนจึงมีเพียง 354 วัน ขณะที่ปีทางสุริยคติมี 366 ? วัน เดือนของชาวสุเมเรียนแบ่งออกเป็น 4 สัปดาห์ๆ 7-8 วัน วันหนึ่งแบ่งเป็นกลางวัน 6 ชั่วโมง )เท่ากับ2 ชั่วโมงในปัจจุบัน (กลางคืน 6 ชั่วโมง การนับคือ หน่วย 60 ซึ่งตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่นการนับ 1 ชั่วโมงมี 60 นาที 1 นาทีมี 60 วินาที วงกลมมี 360 องศา (60 หกครั้ง)
วันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ระยะเวลาที่ชนชาติต่างๆเข้ามาอาศัยในดินแดนเมโสโปเตเมีย
เจริโค )Jericho) อาศัยอยู่ระหว่างหุบเขาริมฝั่งแม่น้าจอร์แดน ประเทศอีรักราว 8000 B.C. ถือว่าเป็นชนชาติแรกทีเก่าแก่ที่สุดในเมโสโปเตเมียซาทาล ฮือยึค )Catal Huyuk) อาศัยอยู่บริเวณอนาโตเลีย สร้างอารยธรรมเก่าแก่สมัยราว 7000-5000 B.C. ก่อนประวัติศาสตร์
สุเมเรียนและอัคคาเดียน สุเมเรียนอาศัยอยู่ตอนล่างของเมโสโปเตเมีย สร้างอารยธรรม)Sumerian and Akkadian) ขึ้นโดยเฉพาะการประดิษฐ์ตัวอักษร ทาให้เมโสโปเตเมียเข้า 3000-1600 B.C. สู่สมัยประวัติศาสตร์ และได้ให้แนวทางแก่พวกอัคคาเดียนซึ่งอยู่ทางตอนเหนือขึ้นไปของเมโสโปเตเมีย เข้ามาครอบครองและเจริญขึ้นแทนสุเมเรียน
อะมอไรท์ )Amorite) พวกอะมอไรท์อพยพมาจากทะเลทรายซีเรียน เข้าครอบ 1900-1600 B.C. ครองเมโสโปเตเมีย สร้างอาณาจักรบาบิโลเนียขึ้นภายใต้การปกครองของพระเจ้าฮัมมูราบี สมัยนี้กรุงบาบิโลเนียเป็น เมืองหลวงอาณาจักรบาบิโลเนียทางทิศตะวันออกจรด อ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ฮิตไตท์และแคสไซท์ พวกฮิตไตท์ อยู่ในเอเชียไมเนอร์ ได้ขยายอาณาจักรออก (Hittite and Kassite) เป็นจักรวรรดิใหญ่ รุกรานเข้ามาในเมโสโปเตเมีย 1600-1150 B.C. ได้ยึดครองปล่อยให้พวกแคสไซท์ซึ่งอยู่ทางเทือกเขาด้าน ตะวันออกของแม่น้าไทกรีสเข้ายึดครองกรุงบาบิโลน
แอสสิเรียน )Assyrian) อยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเตเมีย ค่อยเจริญขึ้นแทนตอน 750-612 B.C. ล่างของเมโสโปเตเมีย และกลายเป็นจักรวรรดิ ครั้งแรก เมื่อเข้ายึดครองกรุงบาบิโลนได้
แคลเดียน )Chaldeam) พวกแคลเดียนอยู่บริเวณทะเลทรายตอนใต้ของบาบิโลเนีย 612-538 B.C. ได้แยกตัว
ออกจากการปกครองของแอสสิเรียได้สาเร็จ และ มีความเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยพระเจ้าเนบูชาเนซซาร์ อาณาจักรแคลเดียนสิ้นสุดลงเมื่อถูกเปอร์เซียเข้ายึดครองอินโด - ยูโรเปี ยนพวกอินโดยูโรเปียน)Indo-European) อยู่ทางตอนเหนือ เข้ามามีอานาจใน เมโสโปเตเมีย ตั้งแต่ 550 B.C. โดยปราบพวกที่มีอานาจอยู่550-332 B.C. ก่อนได้สาเร็จจึงสร้างอาณาจักรเปอร์เซียขึ้นขยายอานาจปกครองในดินแดนเมโสโปเตเมียทั้งหมดรวมทั้งอียิปต์และหัวเมืองกรีกในเอเซีย ไมเนอร์ เมื่อทาสงครามกับกรีก ก็ตกอยู่ ใต้การปกครองของกรีกในปี 332 B.C.
สุเมเรียนและอัคคาเดียน สุเมเรียนอาศัยอยู่ตอนล่างของเมโสโปเตเมีย สร้างอารยธรรม)Sumerian and Akkadian) ขึ้นโดยเฉพาะการประดิษฐ์ตัวอักษร ทาให้เมโสโปเตเมียเข้า 3000-1600 B.C. สู่สมัยประวัติศาสตร์ และได้ให้แนวทางแก่พวกอัคคาเดียนซึ่งอยู่ทางตอนเหนือขึ้นไปของเมโสโปเตเมีย เข้ามาครอบครองและเจริญขึ้นแทนสุเมเรียน
อะมอไรท์ )Amorite) พวกอะมอไรท์อพยพมาจากทะเลทรายซีเรียน เข้าครอบ 1900-1600 B.C. ครองเมโสโปเตเมีย สร้างอาณาจักรบาบิโลเนียขึ้นภายใต้การปกครองของพระเจ้าฮัมมูราบี สมัยนี้กรุงบาบิโลเนียเป็น เมืองหลวงอาณาจักรบาบิโลเนียทางทิศตะวันออกจรด อ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ฮิตไตท์และแคสไซท์ พวกฮิตไตท์ อยู่ในเอเชียไมเนอร์ ได้ขยายอาณาจักรออก (Hittite and Kassite) เป็นจักรวรรดิใหญ่ รุกรานเข้ามาในเมโสโปเตเมีย 1600-1150 B.C. ได้ยึดครองปล่อยให้พวกแคสไซท์ซึ่งอยู่ทางเทือกเขาด้าน ตะวันออกของแม่น้าไทกรีสเข้ายึดครองกรุงบาบิโลน
แอสสิเรียน )Assyrian) อยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเตเมีย ค่อยเจริญขึ้นแทนตอน 750-612 B.C. ล่างของเมโสโปเตเมีย และกลายเป็นจักรวรรดิ ครั้งแรก เมื่อเข้ายึดครองกรุงบาบิโลนได้
แคลเดียน )Chaldeam) พวกแคลเดียนอยู่บริเวณทะเลทรายตอนใต้ของบาบิโลเนีย 612-538 B.C. ได้แยกตัว
ออกจากการปกครองของแอสสิเรียได้สาเร็จ และ มีความเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยพระเจ้าเนบูชาเนซซาร์ อาณาจักรแคลเดียนสิ้นสุดลงเมื่อถูกเปอร์เซียเข้ายึดครองอินโด - ยูโรเปี ยนพวกอินโดยูโรเปียน)Indo-European) อยู่ทางตอนเหนือ เข้ามามีอานาจใน เมโสโปเตเมีย ตั้งแต่ 550 B.C. โดยปราบพวกที่มีอานาจอยู่550-332 B.C. ก่อนได้สาเร็จจึงสร้างอาณาจักรเปอร์เซียขึ้นขยายอานาจปกครองในดินแดนเมโสโปเตเมียทั้งหมดรวมทั้งอียิปต์และหัวเมืองกรีกในเอเซีย ไมเนอร์ เมื่อทาสงครามกับกรีก ก็ตกอยู่ ใต้การปกครองของกรีกในปี 332 B.C.
วันอาทิตย์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
กลุ่มคนที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ชาวสุเมเรียน (Sumeriam)
เมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชชาวสุเมเรียนได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยม (Delta) ปากแม่น้าไทกรีส - ยูเฟรตีส ซึ่งเรียกกัน ในเวลาต่อมาว่าดินแดนซูเมอร์ในระยะแรกชุมชนชาวสุเมเรียนเป็นหมู่บ้านยุคหินใหม่ หมู่บ้านเหล่านี้ได้ขยายตัวขึ้นเป็นชุมชนวัด และในเวลาต่อมา ชุมชนวัดแต่ละแห่งได้พัฒนาขึ้นเป็นเมือง ที่สาคัญ ได้แก่เมืองเออร์)Ur) เมืองอิเรค (Ereck) เมืองอิริดู )Eridu) เมืองลากาซ )Lagash) และเมืองนิปเปอร์ )Nippur) แต่ละเมืองมีชุมชนเล็กๆ ที่รายรอบอยู่เป็นบริวาร ทาให้มีลักษณะเป็นรัฐขนาดเล็กที่เรียกว่านครรัฐ )City State) นครรัฐเหล่านี้ต่างปกครองเป็นอิสระแก่กัน
ในขณะที่ชาวสุเมเรียน สถาปนานครรัฐขึ้นทางตอนล่างของลุ่มแม่น้าไทกรีส- ยูเฟรตีส หลายนครรัฐชนกลุ่มอื่นๆ ก็ได้สถาปนานครรัฐของตน ในบริเวณตอนเหนือขึ้นไปอีกหลายแห่งแต่มีความเจริญทางอารยธรรม
ด้อยกว่านครรัฐของชาวสุเมเรียนในดินแดนซูเมอร์ก็ตามแต่ภาษาที่ใช้สืบมาจากรากเดียวกันคือภาษาอินโด- ยูโรเปียนอันเป็นต้นกา เนิดจากภาษาลาติน กรีก เปอร์เซีย สันสกฤต รวมทั้งภาษาเยอรมันและภาษาโรมานซ์ในปัจจุบัน มองจากแง่ของภาษาอนารยชนกลุ่มใหม่เหล่านี้ก็คือบรรพบุรุษของเรานั่นเอง การบุกรุกทางใต้ของชนเหล่านี้มีผลทาให้ชนเผ่าอื่นถูกแย่งที่ไปอย่างรุนแรงในช่วงประมาณปี 1750 ถึง 1550 ก่อนคริสตกาล พวกอนารยชนดังกล่าวตลอดจนพวกอื่นๆ ที่ดาเนินรอยตามได้ทาลายความต่อเนื่องทางการเมืองและวัฒนธรรมของดินแดนตะวันออกใกล้สมัยโบราณ ประมาณปี 1595 ผู้รุกรานเผ่าอินโด - ยูโรเปี ยนก็ทาให้ราชวงศ์ของพระเจ้าฮัมบูราบีในนครบาบิโลนต้องสิ้นสุดลงซึ่งฉุดให้เมโสโปเตเมียเข้าสู่ช่วงเวลาอันยาวนานของความเสื่อมของทางวัฒนธรรมและความไม่สงบทางการเมือง
คนกลุ่มแรกที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนสร้างขึ้นเป็นพื้นฐานสาคัญของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยกรรม ตัวอักษร วรรณกรรม ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียนได้ดารงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้าทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ
ข้อควรสังเกต
1. บริเวณเมโสโปเตเมียเป็นบริเวณที่มีอากาศรุนแรง ฤดูร้อนอากาศร้อนจัด ฤดูหนาวอากาศหนาวจัด ฝนตกน้อย )ปี หนึ่งไม่เกิน3 นิ้ว( ความรุนแรงของภูมิอากาศทาให้ผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ขาดความกระตือรือร้น เมื่อถูกศัตรูที่แข็งแกร่งรุกรานก็หลีกทางให้ เมโสโปเตเมียจึงเป็นบริเวณที่มีชนหลายชาติหลายภาษาผลัดเปลี่ยนกันเข้ามายึดครองตลอดเวลา
2. เมโสโปเตเมียตั้งอยู่ในที่โล่ง ปราศจากกาแพงธรรมชาติที่จะป้องกันการบุกรุกจากศัตรูภายนอกชนพวกแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณเมโสโปเตเมียคือ พวกสุเมเรียน )Sumerian) ชนพวกนี้จะสืบเชื้อสายมากจากชาติใดไม่อาจทราบชัดทราบแต่เพียงว่า เดิมเป็นชนเผ่าพเนจร อพยพมาจากภูเขาทางทิศตะวันออก เข้าไปตั้งถิ่นฐานแถบบริเวณปากแม่น้าทั้งสองก่อนเมื่อประมาณ 2900-2800 ปีก่อนคริสตกาลแล้วขยายสู่คาบสมุทรชินาร์ )Shinar)
เมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชชาวสุเมเรียนได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยม (Delta) ปากแม่น้าไทกรีส - ยูเฟรตีส ซึ่งเรียกกัน ในเวลาต่อมาว่าดินแดนซูเมอร์ในระยะแรกชุมชนชาวสุเมเรียนเป็นหมู่บ้านยุคหินใหม่ หมู่บ้านเหล่านี้ได้ขยายตัวขึ้นเป็นชุมชนวัด และในเวลาต่อมา ชุมชนวัดแต่ละแห่งได้พัฒนาขึ้นเป็นเมือง ที่สาคัญ ได้แก่เมืองเออร์)Ur) เมืองอิเรค (Ereck) เมืองอิริดู )Eridu) เมืองลากาซ )Lagash) และเมืองนิปเปอร์ )Nippur) แต่ละเมืองมีชุมชนเล็กๆ ที่รายรอบอยู่เป็นบริวาร ทาให้มีลักษณะเป็นรัฐขนาดเล็กที่เรียกว่านครรัฐ )City State) นครรัฐเหล่านี้ต่างปกครองเป็นอิสระแก่กัน
ในขณะที่ชาวสุเมเรียน สถาปนานครรัฐขึ้นทางตอนล่างของลุ่มแม่น้าไทกรีส- ยูเฟรตีส หลายนครรัฐชนกลุ่มอื่นๆ ก็ได้สถาปนานครรัฐของตน ในบริเวณตอนเหนือขึ้นไปอีกหลายแห่งแต่มีความเจริญทางอารยธรรม
ด้อยกว่านครรัฐของชาวสุเมเรียนในดินแดนซูเมอร์ก็ตามแต่ภาษาที่ใช้สืบมาจากรากเดียวกันคือภาษาอินโด- ยูโรเปียนอันเป็นต้นกา เนิดจากภาษาลาติน กรีก เปอร์เซีย สันสกฤต รวมทั้งภาษาเยอรมันและภาษาโรมานซ์ในปัจจุบัน มองจากแง่ของภาษาอนารยชนกลุ่มใหม่เหล่านี้ก็คือบรรพบุรุษของเรานั่นเอง การบุกรุกทางใต้ของชนเหล่านี้มีผลทาให้ชนเผ่าอื่นถูกแย่งที่ไปอย่างรุนแรงในช่วงประมาณปี 1750 ถึง 1550 ก่อนคริสตกาล พวกอนารยชนดังกล่าวตลอดจนพวกอื่นๆ ที่ดาเนินรอยตามได้ทาลายความต่อเนื่องทางการเมืองและวัฒนธรรมของดินแดนตะวันออกใกล้สมัยโบราณ ประมาณปี 1595 ผู้รุกรานเผ่าอินโด - ยูโรเปี ยนก็ทาให้ราชวงศ์ของพระเจ้าฮัมบูราบีในนครบาบิโลนต้องสิ้นสุดลงซึ่งฉุดให้เมโสโปเตเมียเข้าสู่ช่วงเวลาอันยาวนานของความเสื่อมของทางวัฒนธรรมและความไม่สงบทางการเมือง
คนกลุ่มแรกที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนสร้างขึ้นเป็นพื้นฐานสาคัญของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยกรรม ตัวอักษร วรรณกรรม ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียนได้ดารงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้าทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ
ข้อควรสังเกต
1. บริเวณเมโสโปเตเมียเป็นบริเวณที่มีอากาศรุนแรง ฤดูร้อนอากาศร้อนจัด ฤดูหนาวอากาศหนาวจัด ฝนตกน้อย )ปี หนึ่งไม่เกิน3 นิ้ว( ความรุนแรงของภูมิอากาศทาให้ผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ขาดความกระตือรือร้น เมื่อถูกศัตรูที่แข็งแกร่งรุกรานก็หลีกทางให้ เมโสโปเตเมียจึงเป็นบริเวณที่มีชนหลายชาติหลายภาษาผลัดเปลี่ยนกันเข้ามายึดครองตลอดเวลา
2. เมโสโปเตเมียตั้งอยู่ในที่โล่ง ปราศจากกาแพงธรรมชาติที่จะป้องกันการบุกรุกจากศัตรูภายนอกชนพวกแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณเมโสโปเตเมียคือ พวกสุเมเรียน )Sumerian) ชนพวกนี้จะสืบเชื้อสายมากจากชาติใดไม่อาจทราบชัดทราบแต่เพียงว่า เดิมเป็นชนเผ่าพเนจร อพยพมาจากภูเขาทางทิศตะวันออก เข้าไปตั้งถิ่นฐานแถบบริเวณปากแม่น้าทั้งสองก่อนเมื่อประมาณ 2900-2800 ปีก่อนคริสตกาลแล้วขยายสู่คาบสมุทรชินาร์ )Shinar)
วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ปัจจัยที่เอื้ออานวยที่ทาให้เกิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
1. ความคิดสร้างสรรค์รักษา ปรับปรุงและสืบทอดในอารยธรรมของกลุ่มชน 6 กลุ่มคือ
1.1 สุเมเรียน (Sumerians)
1.2 อัคคาเดียน )Akkadians)
1.3 อะมอไรท์ (Amorites)
1.4 คัสไซท์ )Kassites)
1.5 อัสซีเรียน (Assyrians)
1.6 แคลเดียน )Chaldeans)
2. แม่น้าไทกรีสและยูเฟรตีส ทาให้เมโสโปเตเมียชุ่มชื้นเกิดการรวมตัวของกลุ่มชนและกาเนิดอารยธรรมเฉพาะขึ้น
3. พรมแดนธรรมชาติซึ่งมีส่วนช่วยเป็นกาแพงป้องกันศัตรูภายนอกแม้ไม่ดีเท่าแถบลุ่มน้าไนล์ก็ตาม แต่ก็เอื้ออานวยให้กลุ่มชนซึ่งผลัดกันขึ้นมีบทบาทในเมโสโปเตเมียสามารถใช้ประโยชน์ของพรมแดนธรรมชาตินี้กาเนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้น กล่าวคือทิศเหนือจรดเทือกเขาอเมเนียทิศใต้จรดอ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันออกจรดแนวเทือกเขายาว ทิศตะวันตกจรดทะเลทรายอารเบียน
1.1 สุเมเรียน (Sumerians)
1.2 อัคคาเดียน )Akkadians)
1.3 อะมอไรท์ (Amorites)
1.4 คัสไซท์ )Kassites)
1.5 อัสซีเรียน (Assyrians)
1.6 แคลเดียน )Chaldeans)
2. แม่น้าไทกรีสและยูเฟรตีส ทาให้เมโสโปเตเมียชุ่มชื้นเกิดการรวมตัวของกลุ่มชนและกาเนิดอารยธรรมเฉพาะขึ้น
3. พรมแดนธรรมชาติซึ่งมีส่วนช่วยเป็นกาแพงป้องกันศัตรูภายนอกแม้ไม่ดีเท่าแถบลุ่มน้าไนล์ก็ตาม แต่ก็เอื้ออานวยให้กลุ่มชนซึ่งผลัดกันขึ้นมีบทบาทในเมโสโปเตเมียสามารถใช้ประโยชน์ของพรมแดนธรรมชาตินี้กาเนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้น กล่าวคือทิศเหนือจรดเทือกเขาอเมเนียทิศใต้จรดอ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันออกจรดแนวเทือกเขายาว ทิศตะวันตกจรดทะเลทรายอารเบียน
วันศุกร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
เมโสโปเตเมียแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในสมัยโบราณคาว่าเมโสโปเตเมียเป็นภาษากรีก มีความหมายว่าดินแดนระหว่างแม่น้าที่สอง คือแม่น้าไทกรีส (Tigris) และ ยูเฟรตีส (Euphrates) ปัจจุบันคือประเทศอิรัก มีนครหลวงคือกรุงแบกแดด แม่น้าทั้ง 2 สายมีต้นน้าอยู่ในอาร์มีเนีย และเอเซียไมเนอร์ไหลลงสู่ทะเลที่อ่าวเปอร์เซีย
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าไทกรีสและยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่าบาบิโลเนีย (Babylonia) เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย มีชื่อเรียกในสมัยหนึ่งว่าชินาร์ (Shina) เกิดจากการทับถมของดินที่แม่น้าพัดพามากล่าวคือในฤดูร้อนหิมะบนภูเขาในอาร์มีเนียละลายไหลบ่าลงมาทางใต้พัดพาเอาโคลนตมมาทับถมไว้ยัง บริเวณปากน้าทาให้พื้นดินตรงปากแม่น้างอกออกทุกปี โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 1 ไมล์ครึ่ง ทุกๆ ศตวรรษ ( ประมาณปีละ 29 นิ้วครึ่ง)
อาณาบริเวณที่เรียกว่าเมโสโปเตเมีย มีทิศเหนือจรดทะเลดา และทะสาบแคสเบียน ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดคาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลแดง และมหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตกจรดที่ราบซีเรีย และปาเลสไตน์ ส่วนทิศตะวันออกจรดที่ราบสูงอิหร่าน
เมโสโปเตเมียแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนล่างใกล้กับอ่าวเปอร์เซีย มีความอุดมสมบูรณ์เรียกว่าบาบิโลเนีย ส่วนบนซึ่งค่อนข้างแห้งแล้งเรียกว่าแอสซีเรีย (Assyria) บริเวณทั้งหมดมีชนชาติหลายเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่ มีการรบพุ่งกันอยู่เสมอ เมื่อชาติใดมีอานาจก็เข้าไปยึดครองและกลายเป็นชนชาติเดียวกัน
นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่า ไม่มีแห่งหนตาบลใด จะมีชาติพันธุ์มนุษย์ผสมปนเปกันมากมายเหมือนที่นี่ และยังเป็นยุทธภูมิระหว่างตะวันตก กับตะวันออกตลอดสมัยประวัติศาสตร์ ดังนั้น ประวัติเรื่องราวต่างๆ ของชนชาติเหล่านี้จึงค่อนข้างสับสน
ประวัติศาสตร์ของดินแดนแห่งนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความเจริญของแต่ละแคว้นที่แยกออกจากกัน และเรื่องราวทางอารยธรรมในเมโสโปเตเมีย มีหลักฐานยืนยันทางโบราณคดีว่าเก่าแก่นานนับถึง 8,000 - 7,000 B.C. เช่น การขุดพบหมู่บ้านที่เมืองจาร์โม (Jarmo) ในอิรักใกล้แม่น้าไทกรีส เมืองซาทาล ฮือยึค (Catal Huyl) ภายใต้ของอนาโตเลีย (ประเทศตุรกี) ซึ่งเมื่อเทียบกับอิยิปต์แล้ว หลักฐานทางโบราณคดีในเมืองเก่าแก่ใกล้ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าไนล์คือที่ไฟยูม (Faiyum) มีอายุเพียง 4,500 B.C. เท่านั้น ตัวอักษรของเมโสโปเตเมียก็ปรากฎว่าใช้มานานแล้ว อาจจะก่อนอียิปต์หลายร้อยปีอีกด้วย แต่ก็ไม่ปรากฎยืนยันว่าตัวอักษรของเมโสโปเตเมียให้อิทธิพลแก่อียิปต์แต่อย่างใด
ชนชาติกลุ่มแรกที่มีอายุในสมัยหิน และเข้ามาอยู่อาศัยระหว่างหุบเขาริมแม่น้าจอร์แดนประเทศอิรัก เรียกว่า เจริโค (Jericho) มีอายุราว 8,000 B.C. การขุดค้นหลักฐานทางโบราณคดีขุดค้นซากกาแพงยาวสร้างด้วยหิน สูงถึง 12 ฟุต หนา 5 ฟุต และพบซากหอคอยซึ่งมีความสูงถึง 30 ฟุต รูปแบบการก่อสร้างแสดงอารยธรรมดั้งเดิมของมนุษย์ทีใช้มาก่อสร้าง
ชนกลุ่มต่อมา คือซาทาล ฮือยึค (Catal Huyuk) มีอายุราว 7000-5000 B.C. นักโบราณคดีได้ขุดลงไปพบเมืองต่างๆ ที่ทับถมเป็นชั้นๆ ถึง 12 ชั้น และชั้นที่ 4 พบซากเมืองมีผังต่อเนื่องคล้ายเมืองใหญ่ แต่ไม่มีถนน ตัวอาคารเป็นห้องโถง มีภาพเขียนหนังและตกแต่งปฏิมากรรมที่ทามาจากเขาสัตว์ งานจิตรกรรมบนผนังของ ซาทาล ฮือยึค หลังจากพิสูจน์ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์แล้วปรากฎว่ามีอายุราว 6,200 B.C. เป็นภาพหมู่บ้านที่อาศัยมากมาย มีภาพภูเขาไฟกาลังระเบิด สาหรับงานปฏิมกรรม เป็นรูปปั้นจากดินดาและรูปแกะสลักจากหินชั้นเล็กๆ สูงประมาณ 2-8 นิ้ว
แม้พวกเจริโคและซาทาล ฮือยึค จะเป็นชนชาติที่ปรากฎหลักฐานว่าเก่าแก่ที่สุดในเมโสโปรเตเมีย แต่ก็เข้าใจว่ายังไม่มีอารยธรรมใดจะเป็นเครื่องยืนยันว่ามีความเจริญหลุดพ้นจากยุคหินหรือยุคโลหะมาได้ ชนชาติเก่าแก่ชาติแรกที่ปรากฎหลักฐานแสดงความเจริญรุ่งเรือง และมีอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดในเมโสโปเตเมีย คือ ชนชาติซูเมอร์และบาบิโลเนีย
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าไทกรีสและยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่าบาบิโลเนีย (Babylonia) เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย มีชื่อเรียกในสมัยหนึ่งว่าชินาร์ (Shina) เกิดจากการทับถมของดินที่แม่น้าพัดพามากล่าวคือในฤดูร้อนหิมะบนภูเขาในอาร์มีเนียละลายไหลบ่าลงมาทางใต้พัดพาเอาโคลนตมมาทับถมไว้ยัง บริเวณปากน้าทาให้พื้นดินตรงปากแม่น้างอกออกทุกปี โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 1 ไมล์ครึ่ง ทุกๆ ศตวรรษ ( ประมาณปีละ 29 นิ้วครึ่ง)
อาณาบริเวณที่เรียกว่าเมโสโปเตเมีย มีทิศเหนือจรดทะเลดา และทะสาบแคสเบียน ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดคาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลแดง และมหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตกจรดที่ราบซีเรีย และปาเลสไตน์ ส่วนทิศตะวันออกจรดที่ราบสูงอิหร่าน
เมโสโปเตเมียแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนล่างใกล้กับอ่าวเปอร์เซีย มีความอุดมสมบูรณ์เรียกว่าบาบิโลเนีย ส่วนบนซึ่งค่อนข้างแห้งแล้งเรียกว่าแอสซีเรีย (Assyria) บริเวณทั้งหมดมีชนชาติหลายเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่ มีการรบพุ่งกันอยู่เสมอ เมื่อชาติใดมีอานาจก็เข้าไปยึดครองและกลายเป็นชนชาติเดียวกัน
นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่า ไม่มีแห่งหนตาบลใด จะมีชาติพันธุ์มนุษย์ผสมปนเปกันมากมายเหมือนที่นี่ และยังเป็นยุทธภูมิระหว่างตะวันตก กับตะวันออกตลอดสมัยประวัติศาสตร์ ดังนั้น ประวัติเรื่องราวต่างๆ ของชนชาติเหล่านี้จึงค่อนข้างสับสน
ประวัติศาสตร์ของดินแดนแห่งนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความเจริญของแต่ละแคว้นที่แยกออกจากกัน และเรื่องราวทางอารยธรรมในเมโสโปเตเมีย มีหลักฐานยืนยันทางโบราณคดีว่าเก่าแก่นานนับถึง 8,000 - 7,000 B.C. เช่น การขุดพบหมู่บ้านที่เมืองจาร์โม (Jarmo) ในอิรักใกล้แม่น้าไทกรีส เมืองซาทาล ฮือยึค (Catal Huyl) ภายใต้ของอนาโตเลีย (ประเทศตุรกี) ซึ่งเมื่อเทียบกับอิยิปต์แล้ว หลักฐานทางโบราณคดีในเมืองเก่าแก่ใกล้ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าไนล์คือที่ไฟยูม (Faiyum) มีอายุเพียง 4,500 B.C. เท่านั้น ตัวอักษรของเมโสโปเตเมียก็ปรากฎว่าใช้มานานแล้ว อาจจะก่อนอียิปต์หลายร้อยปีอีกด้วย แต่ก็ไม่ปรากฎยืนยันว่าตัวอักษรของเมโสโปเตเมียให้อิทธิพลแก่อียิปต์แต่อย่างใด
ชนชาติกลุ่มแรกที่มีอายุในสมัยหิน และเข้ามาอยู่อาศัยระหว่างหุบเขาริมแม่น้าจอร์แดนประเทศอิรัก เรียกว่า เจริโค (Jericho) มีอายุราว 8,000 B.C. การขุดค้นหลักฐานทางโบราณคดีขุดค้นซากกาแพงยาวสร้างด้วยหิน สูงถึง 12 ฟุต หนา 5 ฟุต และพบซากหอคอยซึ่งมีความสูงถึง 30 ฟุต รูปแบบการก่อสร้างแสดงอารยธรรมดั้งเดิมของมนุษย์ทีใช้มาก่อสร้าง
ชนกลุ่มต่อมา คือซาทาล ฮือยึค (Catal Huyuk) มีอายุราว 7000-5000 B.C. นักโบราณคดีได้ขุดลงไปพบเมืองต่างๆ ที่ทับถมเป็นชั้นๆ ถึง 12 ชั้น และชั้นที่ 4 พบซากเมืองมีผังต่อเนื่องคล้ายเมืองใหญ่ แต่ไม่มีถนน ตัวอาคารเป็นห้องโถง มีภาพเขียนหนังและตกแต่งปฏิมากรรมที่ทามาจากเขาสัตว์ งานจิตรกรรมบนผนังของ ซาทาล ฮือยึค หลังจากพิสูจน์ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์แล้วปรากฎว่ามีอายุราว 6,200 B.C. เป็นภาพหมู่บ้านที่อาศัยมากมาย มีภาพภูเขาไฟกาลังระเบิด สาหรับงานปฏิมกรรม เป็นรูปปั้นจากดินดาและรูปแกะสลักจากหินชั้นเล็กๆ สูงประมาณ 2-8 นิ้ว
แม้พวกเจริโคและซาทาล ฮือยึค จะเป็นชนชาติที่ปรากฎหลักฐานว่าเก่าแก่ที่สุดในเมโสโปรเตเมีย แต่ก็เข้าใจว่ายังไม่มีอารยธรรมใดจะเป็นเครื่องยืนยันว่ามีความเจริญหลุดพ้นจากยุคหินหรือยุคโลหะมาได้ ชนชาติเก่าแก่ชาติแรกที่ปรากฎหลักฐานแสดงความเจริญรุ่งเรือง และมีอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดในเมโสโปเตเมีย คือ ชนชาติซูเมอร์และบาบิโลเนีย
วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
อารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย เป็นคาภาษากรีก แปลว่า ระหว่างแม่น้า ดินแดนที่ชาวกรีกเรียกว่าเมโสโปเตเมียนี้ตั้งอยู่ในลุ่มน้าไทกรีสและยูเฟรตีส เป็นส่วนหนึ่งของ "ดินแดนรูปพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์" ซึ่งเป็นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และอ่าวเปอร์เซีย
เมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่อากาศร้อนและกันดารฝน น้าที่ได้รับส่วนใหญ่เป็น น้าจากแม่น้าที่มาจากหิมะละลายในภาคฤดูร้อนบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย น้าจะพัดพาเอาโคลนตมมาทับถมชายฝั่งทั้งสอง ทาให้พื้นดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก การเอ่อล้นของน้าอันเกิดจากหิมะละลายไม่มีกาหนดเวลาที่แน่นอนและบางครั้งทาความเสียหายแก่บ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและชีวิตผู้คน การกสิกรรมที่จะได้ผลดีในสภาพแวดล้อมเช่นนี้ต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ
ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้าเป็นเครื่องดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาทามาหากินในบริเวณนี้ แต่ความร้อนของอากาศก็เป็นเครื่องบั่นทอนกาลัง ของผู้คนที่อาศัยอยู่ทาให้คนเหล่านั้นขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีพวกอื่นเข้ารุกรานจึงต้องหลีกทางให้ผู้ที่เข้ามาใหม่ซึ่งเมื่ออยู่ไปนานๆ
เข้าก็ประสบภาวะเดียวกันต้องหลีกให้ผู้อื่นต่อไป พวกที่เข้ามารุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือและตะวันออกซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขาหินปูนไม่อุดมสมบูรณ์เท่าเขตลุ่มแม่น้า และยังมีพวกที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย เรื่องราวของดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของคนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่มมิได้เป็นเรื่องราวของอารยธรรมที่สืบต่อกันเป็นเวลายาวนานดังเช่นอารยธรรมอียิปต์
คนกลุ่มแรกที่สร้างอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนขึ้นเป็น พื้นฐานสาคัญ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยธรรม ตัวอักษร ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียน ได้ดารงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้าทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ
เมโสโปเตเมีย เป็นคาภาษากรีก แปลว่า ระหว่างแม่น้า ดินแดนที่ชาวกรีกเรียกว่าเมโสโปเตเมียนี้ตั้งอยู่ในลุ่มน้าไทกรีสและยูเฟรตีส เป็นส่วนหนึ่งของ "ดินแดนรูปพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์" ซึ่งเป็นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และอ่าวเปอร์เซีย
เมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่อากาศร้อนและกันดารฝน น้าที่ได้รับส่วนใหญ่เป็น น้าจากแม่น้าที่มาจากหิมะละลายในภาคฤดูร้อนบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย น้าจะพัดพาเอาโคลนตมมาทับถมชายฝั่งทั้งสอง ทาให้พื้นดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก การเอ่อล้นของน้าอันเกิดจากหิมะละลายไม่มีกาหนดเวลาที่แน่นอนและบางครั้งทาความเสียหายแก่บ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและชีวิตผู้คน การกสิกรรมที่จะได้ผลดีในสภาพแวดล้อมเช่นนี้ต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ
ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้าเป็นเครื่องดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาทามาหากินในบริเวณนี้ แต่ความร้อนของอากาศก็เป็นเครื่องบั่นทอนกาลัง ของผู้คนที่อาศัยอยู่ทาให้คนเหล่านั้นขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีพวกอื่นเข้ารุกรานจึงต้องหลีกทางให้ผู้ที่เข้ามาใหม่ซึ่งเมื่ออยู่ไปนานๆ
เข้าก็ประสบภาวะเดียวกันต้องหลีกให้ผู้อื่นต่อไป พวกที่เข้ามารุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือและตะวันออกซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขาหินปูนไม่อุดมสมบูรณ์เท่าเขตลุ่มแม่น้า และยังมีพวกที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย เรื่องราวของดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของคนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่มมิได้เป็นเรื่องราวของอารยธรรมที่สืบต่อกันเป็นเวลายาวนานดังเช่นอารยธรรมอียิปต์
คนกลุ่มแรกที่สร้างอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนขึ้นเป็น พื้นฐานสาคัญ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยธรรม ตัวอักษร ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียน ได้ดารงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้าทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ
วันพุธที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
แนวความคิดของอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
แนวความคิดของอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
1. มนุษย์รวมตัวกันอยู่ในรูปองค์กรทางการเมือง แบบนครรัฐเป็นอันดับแรก และสามารถสร้างสรรค์ความเจริญภายใต้รูปแบบการปกครอง
2. การผลิตจนเหลือกินเหลือใช้ในชุมชนหนึ่งกับความยากไร้และแร้นแค้นในบางชุมชนก่อให้เกิดสงครามซึ่งตามมาด้วยการที่ชุมชนหนึ่ง สถาปนาอานาจเหนือชุมชนอื่นๆ ที่พ่ายแพ้ในรูปขององค์กรทางการเมืองแบบจักรพรรดิ
3. การขยายตัวทางการเมือง และเศรษฐกิจในรูปแบบของจักรวรรดิในยุคแรกเป็นไปอย่างกว้างขวาง ดังนั้นเราจาต้องพิจารณาปัจจัยดังกล่าวเพื่อทาความเข้าใจในประเด็นของเนื้อหาเพื่อดังต่อไปนี้ด้วยคือ
1. วิเคราะห์การจัดรูปองค์กรทางการเมืองแบบแรกของโลก ความสัมพันธ์ของรูปแบบองค์กรนั้นกับความสาเร็จของชุมชนนั้น และบอกความหมายของนครรัฐได้ถูกต้อง
2. บวกสาเหตุขั้นพื้นฐานของสงครามโดยดูตัวอย่างจากความเป็นจริง ในพฤติกรรมของชุมชนโบราณ และสามารถอธิบาย ความหมายของจักรวรรดิได้ถูกต้อง
3. จาแนกประเภทของการรุกรานและผลของการรุกราน
1. มนุษย์รวมตัวกันอยู่ในรูปองค์กรทางการเมือง แบบนครรัฐเป็นอันดับแรก และสามารถสร้างสรรค์ความเจริญภายใต้รูปแบบการปกครอง
2. การผลิตจนเหลือกินเหลือใช้ในชุมชนหนึ่งกับความยากไร้และแร้นแค้นในบางชุมชนก่อให้เกิดสงครามซึ่งตามมาด้วยการที่ชุมชนหนึ่ง สถาปนาอานาจเหนือชุมชนอื่นๆ ที่พ่ายแพ้ในรูปขององค์กรทางการเมืองแบบจักรพรรดิ
3. การขยายตัวทางการเมือง และเศรษฐกิจในรูปแบบของจักรวรรดิในยุคแรกเป็นไปอย่างกว้างขวาง ดังนั้นเราจาต้องพิจารณาปัจจัยดังกล่าวเพื่อทาความเข้าใจในประเด็นของเนื้อหาเพื่อดังต่อไปนี้ด้วยคือ
1. วิเคราะห์การจัดรูปองค์กรทางการเมืองแบบแรกของโลก ความสัมพันธ์ของรูปแบบองค์กรนั้นกับความสาเร็จของชุมชนนั้น และบอกความหมายของนครรัฐได้ถูกต้อง
2. บวกสาเหตุขั้นพื้นฐานของสงครามโดยดูตัวอย่างจากความเป็นจริง ในพฤติกรรมของชุมชนโบราณ และสามารถอธิบาย ความหมายของจักรวรรดิได้ถูกต้อง
3. จาแนกประเภทของการรุกรานและผลของการรุกราน
วันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
อารยธรรมของชาวสุเมเรียน
อารยธรรมของชาวสุเมเรียน
1. ศาสนา เกิดจากความกลัวของชาวสุเมเรียน ความเชื่อในเรื่องวิญญาณร้าย มีพิธีบวงสรวงเพื่อให้เทพเจ้าพึงพอใจ แต่พวกเขาจะไม่เชื่อในเรื่องความเป็นอมตะและภพหน้า
2.สถาปัตยกรรม ที่พบเห็นได้เด่นชัดคือ “วิหารหอคอย” หรือ “ซิกกูแรท”
ที่สร้างด้วยดินหรืออิฐ ซึ่งนั่นนับเป็นจุดอ่อนของสถาปัตยกรรมของชาวสุเมเรียน เพราะดินสามารถเสื่อมสลาย ผุผังไปตามกาลเวลาได่ง่าย ลักษณะของซิกกูแรทคล้ายๆกับพีระมิดมัสตาบ้าของอียิปต์โบราณ แต่จะเป็นฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียงซ้อนกันขึ้นไป มีทางขึ้นทั้ง 2 ด้าน ด้านบนสุดเป็นที่สิงสถิตของเทพเจ้า
3. ตัวอักษร เป็นตัวอักษรเครื่องหมาย หรือเรียกว่า “อักษรรูปลิ่ม” หรือ “อักษรคูนิฟอร์ม” รูปร่างคล้ายตัววีในภาษาอังกฤษ
4. การปกครอง ปกครองแบบเทวาธิปไตย อาศัยอานาจของเทพเจ้าเป็นเครื่องมือในการปกครอง มีอยุ่ด้วยกัน 2 กลุ่มคือ
1) ลูการ์ คือทหารที่มาปกครอง
2) ปาเตซี คือพระที่เป็นคนกลางระหว่างเทพเจ้ากับมนุษย์ จึงได้เข้ามามีส่วนร่วมในการปกครอง แต่ก็ไม่นานนัก
5. วิทยาศาสตร์ ทาปฎิทินโดยยึดหลักจันทรคติ 1 ปีมี 360 วัน รู้จักคานวณหาพื้นที่เพื่อเพาะปลูกหรือก่อสร้าง เริ่มสังเกตความเป็นไปบนท้องฟ้า 6. สังคม แบ่งเป็น 4 ชนชั้น ได้แก่
1) ชนชั้นสูงหรือปกครอง ได้แก่ พระ ผู้ครองนคร
2) ชนชั้นกลาง ได้แก่ พ่อค้า ช่างฝีมือ อาลักษณ์
3) ชนชั้นต่า ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ชาวนา
4) ชนชั้นต่าสุด ได้แก่ ทาส
1. ศาสนา เกิดจากความกลัวของชาวสุเมเรียน ความเชื่อในเรื่องวิญญาณร้าย มีพิธีบวงสรวงเพื่อให้เทพเจ้าพึงพอใจ แต่พวกเขาจะไม่เชื่อในเรื่องความเป็นอมตะและภพหน้า
2.สถาปัตยกรรม ที่พบเห็นได้เด่นชัดคือ “วิหารหอคอย” หรือ “ซิกกูแรท”
ที่สร้างด้วยดินหรืออิฐ ซึ่งนั่นนับเป็นจุดอ่อนของสถาปัตยกรรมของชาวสุเมเรียน เพราะดินสามารถเสื่อมสลาย ผุผังไปตามกาลเวลาได่ง่าย ลักษณะของซิกกูแรทคล้ายๆกับพีระมิดมัสตาบ้าของอียิปต์โบราณ แต่จะเป็นฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียงซ้อนกันขึ้นไป มีทางขึ้นทั้ง 2 ด้าน ด้านบนสุดเป็นที่สิงสถิตของเทพเจ้า
3. ตัวอักษร เป็นตัวอักษรเครื่องหมาย หรือเรียกว่า “อักษรรูปลิ่ม” หรือ “อักษรคูนิฟอร์ม” รูปร่างคล้ายตัววีในภาษาอังกฤษ
4. การปกครอง ปกครองแบบเทวาธิปไตย อาศัยอานาจของเทพเจ้าเป็นเครื่องมือในการปกครอง มีอยุ่ด้วยกัน 2 กลุ่มคือ
1) ลูการ์ คือทหารที่มาปกครอง
2) ปาเตซี คือพระที่เป็นคนกลางระหว่างเทพเจ้ากับมนุษย์ จึงได้เข้ามามีส่วนร่วมในการปกครอง แต่ก็ไม่นานนัก
5. วิทยาศาสตร์ ทาปฎิทินโดยยึดหลักจันทรคติ 1 ปีมี 360 วัน รู้จักคานวณหาพื้นที่เพื่อเพาะปลูกหรือก่อสร้าง เริ่มสังเกตความเป็นไปบนท้องฟ้า 6. สังคม แบ่งเป็น 4 ชนชั้น ได้แก่
1) ชนชั้นสูงหรือปกครอง ได้แก่ พระ ผู้ครองนคร
2) ชนชั้นกลาง ได้แก่ พ่อค้า ช่างฝีมือ อาลักษณ์
3) ชนชั้นต่า ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ชาวนา
4) ชนชั้นต่าสุด ได้แก่ ทาส
วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ดินแดนแห่งพระจันทร์เสี้ยว
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ที่จะนาเสนอต่อไปนี้เป็นสิ่งสาคัญเพราะชนชาติที่สร้างสรรค์อารยธรรมนี้ได้สร้างสิ่งที่เป็นประโยชน์และมีคุณค่าแก่มนุษยชาติอย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการประดิษฐ์อักษร การค้นพบดวงดาวที่สาคัญ การสร้างระบบชลประทาน หรือแม้แต่การตรากฎหมายที่สาคัญของพระเจ้าฮัมบูราบี ซึ่งรายละเอียดจะได้ร่วมกันอภิปรายต่อไปนี้
คำว่า “เมโสโปเตเมีย” แปลว่า ดินแดนระหว่างแม่น้าสองสาย ซึ่งก็คือ แม่น้ำาไทกรีสและแม่น้ายูเฟรตีส ที่ไหลมาจากเทือกเขาอาร์เมเนียนในเอเชียไมเนอร์ เราเรียกดินแดนเมโสโปเตเมียอีกชื่อหนึ่งว่า “ดินแดนพระจันทร์เสี้ยว” (Fertiel Crescent) ปัจจุบันดินแดนนี้อยู่ในประเทศอิรัก เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันเฉียงใต้หรือตะวันออกกลาง
ปัจจัยที่ส่งผลให้อารยธรรมเมโสโปเตเมียเจริญรุ่งเรือง
1. ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้าไทกรีสและยูเฟรตีส
2. ความคิด และการสืบทอดอารยธรรมของกลุ่มชนในดินแดนแห่งนี้ซึ่งมีด้วยกัน 6 กลุ่ม
3.มีพรมแดนธรรมชาติเป็นเกราะป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก โดยทิศเหนือมีภูเขาและที่ราบสูง ทิศใต้ติดอ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันออกจดเทือกเขาซาร์กอส และทิศตะวันเป็นทะเลทรายซีเรีย
จากที่ได้กล่าวไปข้างต้นเรื่องกลุ่มชนในดินแดนเมโสโปเตเมีย ที่มีด้วยกัน 6 กลุ่มนั้น ต่อไปนี้จะขอพูดถึงแต่ละกลุ่มชนทั้ง 6 ซึ่งได้แก่ สุเมเรียน อัคคาเดียน อะมอไรท์ คัสไซท์ อัสซีเรียน และแคลเดียน ดิฉันขอกล่าวเรียงตามลำดับไป
1. ชาวสุเมเรียน
2. ชาวอัคคาเดีย (Akkadians)
3. ชาวอมอไรต์ (Amorites)
4. ชาวแอสซีเรียน (Assyrian)
5. ชาวคาลเดียน (Chaldeans)
1. สุเมเรียน (Sumerians) เป็นกลุ่มชนที่เข้ามาตั้งรกรากในดินแดนทางตอนใต้ของเมโสโปเตเมีย ที่เรียกกันว่า “ซูเมอร์” และนับได้ว่าเป็นผู้วางรากฐานอารยธรรมเมโสโปเตเมียเลยทีเดียว ชาวสุเมเรียนปกครองในรูปแบบ การรวมตัวเป็นนครรัฐ เรียงรายอยู่ตามพื้นที่ลุ่มอันอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ายูเฟรตีส แต่อานาจของชาวสุมเรียนในซูเมอร์ต้องเสื่อมไปเพราะการรุกรานของพวกอัคคาเดียน
ดินแดนแห่งพระจันทร์เสี้ยว
เมโสโปเตเมียคืออะไร
บทนำ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ที่จะนาเสนอต่อไปนี้เป็นสิ่งสาคัญเพราะชนชาติที่สร้างสรรค์อารยธรรมนี้ได้สร้างสิ่งที่เป็นประโยชน์และมีคุณค่าแก่มนุษยชาติอย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการประดิษฐ์อักษร การค้นพบดวงดาวที่สาคัญ การสร้างระบบชลประทาน หรือแม้แต่การตรากฎหมายที่สาคัญของพระเจ้าฮัมบูราบี ซึ่งรายละเอียดจะได้ร่วมกันอภิปรายต่อไปนี้
คำว่า “เมโสโปเตเมีย” แปลว่า ดินแดนระหว่างแม่น้าสองสาย ซึ่งก็คือ แม่น้ำาไทกรีสและแม่น้ายูเฟรตีส ที่ไหลมาจากเทือกเขาอาร์เมเนียนในเอเชียไมเนอร์ เราเรียกดินแดนเมโสโปเตเมียอีกชื่อหนึ่งว่า “ดินแดนพระจันทร์เสี้ยว” (Fertiel Crescent) ปัจจุบันดินแดนนี้อยู่ในประเทศอิรัก เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันเฉียงใต้หรือตะวันออกกลาง
1. ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้าไทกรีสและยูเฟรตีส
2. ความคิด และการสืบทอดอารยธรรมของกลุ่มชนในดินแดนแห่งนี้ซึ่งมีด้วยกัน 6 กลุ่ม
3.มีพรมแดนธรรมชาติเป็นเกราะป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก โดยทิศเหนือมีภูเขาและที่ราบสูง ทิศใต้ติดอ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันออกจดเทือกเขาซาร์กอส และทิศตะวันเป็นทะเลทรายซีเรีย
แผนที่แสดงเมืองที่สาคัญ
กลุ่มชนต่าง ๆ ที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
1. ชาวสุเมเรียน
2. ชาวอัคคาเดีย (Akkadians)
3. ชาวอมอไรต์ (Amorites)
4. ชาวแอสซีเรียน (Assyrian)
5. ชาวคาลเดียน (Chaldeans)
1. สุเมเรียน (Sumerians) เป็นกลุ่มชนที่เข้ามาตั้งรกรากในดินแดนทางตอนใต้ของเมโสโปเตเมีย ที่เรียกกันว่า “ซูเมอร์” และนับได้ว่าเป็นผู้วางรากฐานอารยธรรมเมโสโปเตเมียเลยทีเดียว ชาวสุเมเรียนปกครองในรูปแบบ การรวมตัวเป็นนครรัฐ เรียงรายอยู่ตามพื้นที่ลุ่มอันอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ายูเฟรตีส แต่อานาจของชาวสุมเรียนในซูเมอร์ต้องเสื่อมไปเพราะการรุกรานของพวกอัคคาเดียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)