มหากาพย์กิลกาเมช )อังกฤษ:Gilgamesh) เป็นตานานน้าท่วมโลกที่เก่าแก่ของบาบิโลน เล่าเรื่องกษัตริย์กิลกาเมชกับเหตุการณ์น้าท่วมโลก ปรากฏในจารึก 12 แท่งด้วยกัน (นักโบราณคดีส่วนมากเชื่อว่าจารึกแท่งที่ 12 นี้ถูกแต่งเพิ่มขึ้นในภายหลัง( ซึ่งสอดคล้องกับตานานของชาวซูเมอร์ มหากาพย์เรื่องนี้จารึกไว้ในแผ่นดินเหนียวในหอเก็บจารึกของกษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อราว ศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล
สวนลอยแห่งบาบิโลน
ตานานกล่าวไว้ว่า สวนลอยแห่งบาบิโลนสร้างขึ้นประมาณศตวรรษที่9 ก่อน คริสตกาล โดยคา บัญชาของกษัตริย์ " เนบูคัสเนซซาร์"เพื่อเป็นของขวัญแก่นางอามิธีสราชินีชาวเปอร์เซียของพระองค์
สวนแห่งนี้สร้างขึ้นในเขตพระราชฐาน มีลักษณะคล้ายปิรามิด โดยสร้างซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้นๆ นักประวัติศาสตร์จากซิซิลีที่ชื่อ "ดิโอโดโรส" กล่าวว่า ชาวบาบิโลนใช้อิฐและน้ามันดินเป็นส่วน ประกอบสาคัญในการก่อสร้างและเพื่อให้กันน้าได้ดีนั้น ชาวเมืองจะใช้หญ้าประเภทอ้อหรือกกผสม น้ามันดินปูพื้นชั้นแรก แล้วปูทับด้วยอิฐเผาที่ตริงไว้ด้วยปูน ก่อนจะวางตะกั่วทับลงไปบนชั้นบนสุด หลังจากนั้นจึงลงดินที่มีปริมาณมากพอที่จะปลูกต้นไม้ทุกประเภท นับแต่ไม้พุ่มไปจนถึงไม้ยืนต้น น้าที่ใช้เลี้ยงต้นไม้ในสวนลอยสูบขึ้นมาจากแม่น้ายูเฟรติสเบื้องล่างมาตามท่อที่ฝังซ่อนไว้อย่าง มิดชิดในแต่ละส่วนของระเบียง ทาให้ต้นไม้ที่ปลูกที่นี่เขียวชอุ่ม ให้ดอกและผลได้เป็นอย่างดีแม้ในช่วง ที่แล้งที่สุดกลางฤดูร้อนในทะเลทราย
มังกรในตานานของชาวสุเมเรียน
มังกรในตานานของชนสุเม - เรียนแห่งนครบาบิโลนซึ่งก่อตั้งขึ้นราว 2,000 ปีก่อน ค . ศ.โดยตา นานเล่าว่า หลังกา เนิดของพิภพ มีมังกรเพศเมียนามว่า ติอาแม็ท )TIAMAT) เป็นเทพีแห่งทะเลน้าเค็ม เมื่อน้าเค็มของติอาแม็ทผสมผสานกับน้าจืดของเทพ อัพสุ )APSU) ก็เกิดการปฏิสนธิของเทพองค์อื่นๆ อีกมากมาย
ต่อมาอัพสุต้องการชิงอานาจจากจอมเทพ อีอา )EA) จึงเกิดเทวสงครามขึ้น แรกๆ ทัพของอัพสุกับติอาแม็ททาท่าว่าจะมีชัย แต่แล้วก็เกิดมีวีรเทพซึ่งเป็นโอรสของอีอาพระนามว่า มาร์ดุค )MARDUK) เข้ามาขัดขวางติอาแม็ทอ้าโอษฐ์ เพื่อกลืนกินมาร์ดุค แต่วีรเทพได้สาดมหาพายุเข้าไปในโอษฐ์ของเธอจนหุบไม่ลง แล้วมาร์ดุคก็ใช้แหจับติอาแม็ทไว้ได้ เอาศรเสียบร่างแล้วเอาดาบ ผ่ากายของเธอออกเป็นสองซีก ซีกหนึ่งบังเกิดเป็นหลังคาสวรรค์ อีกซีก หนึ่งเป็นท้องมหาสมุทร นอกจากนี้ มาร์ดุค ยังเอาดาบเสียบลูกตาของติอาแม็ท โลหิตที่หลั่งไหลออกมากลายเป็นแม่น้าสองสาย คือ ไทกริส กับ ยูเฟรติส แห่งดินแดนเมโสโปเตเมีย
ศิลปะแห่งดินแดนเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเป็นชื่อดินแดนที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ริมแม่น้า อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารและแร่ธาตุต่างๆ จึงเป็นที่ตั้งของชนเผ่าต่างๆ หลายชนเผ่า ชนเผ่าเหล่านี้มีความเป็นอยู่คล้ายคลึงกัน เช่น การนับถือบูชาเทพเจ้าประจาสถานที่ต่างๆ เช่น เทพเจ้าแห่งพายุ เทพเจ้าแห่งท้องฟ้า เนื่องจากเชื่อว่า สิ่งทั้งหลายในธรรมชาติล้วนเป็นไปตามความพอใจของเทพเจ้าผู้เข้าถึงสัจธรรมแห่งเทพเจ้าได้ก็คือ นักบวชหรือพระ ดังนั้น พระจึงมีบทบาทสาคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ และเปรียบเสมือนตัวแทนของเทพเจ้า วัดจึงกลายเป็นสถานที่สถิตย์ของเทพเจ้า เป็นที่ประกอบพิธีกรรม เป็นศูนย์กลางของการปกครอง และเป็นแหล่งผลิตงานศิลปะที่มีคุณค่ายิ่ง จึงนับว่าการสร้างสรรค์ศิลปะสมัยนี้มีแรงผลักดันมาจากความเลื่อมใสในศาสนาและการเอาใจเทพเจ้า งานศิลปะที่สาคัญส่วนใหญ่เป็นผลงานของเผ่าซูเมอร์ )Sumer) และบาบิโลเนีย (Babilonia) เผ่าแอสซิเรีย )Assyria) และเผ่าเปอร์เซีย)Persia)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น